
ยกระดับวัสดุอุปกรณ์การแพทย์และสุขภาพ สู่การเป็นผลิตภัณฑ์ชีวภาพ กิจกรรมภายใต้ “โครงการยกระดับผลิตภาพภาคอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืนด้วยแนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG Model)”
พัฒนาวัสดุอุปกรณ์การแพทย์และสุขภาพ สู่การเป็นผลิตภัณฑ์ชีวภาพ

ยกระดับการท่องเที่ยว ด้วยผลิตภัณฑ์ชีวภาพ กิจกรรมภายใต้ “โครงการยกระดับผลิตภาพภาคอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืนด้วยแนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG Model)”
ยกระดับการท่องเที่ยว ด้วยผลิตภัณฑ์ชีวภาพ “โครงการยกระดับผลิตภาพภาคอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืนด้วยแนวคิดเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG Model)”

สถาบันพลาสติก ร่วมกับ สยามพิวรรธน์ Dow PPP Plastics และ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แถลง ความสำเร็จโครงการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคเพื่อพัฒนาแบบแผนธุรกิจ (Business Model) สำหรับการบริหารจัดการขยะพลาสติกหลังการใช้โดยใช้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ในพื้นที่เขตเมืองชั้นใน
ดูแลสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน โดยสถาบันพลาสติก ร่วมกับ สยามพิวรรธน์ Dow PPP Plastics และ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แถลง ความสำเร็จโครงการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคเพื่อพัฒนาแบบแผนธุรกิจ (Business Model) สำหรับการบริหารจัดการขยะพลาสติกหลังการใช้โดยใช้แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ในพื้นที่เขตเมืองชั้นใน

สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทรายร่วมกับสถาบันพลาสติก จัดสัมมนา “ทิศทางการพัฒนาและการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ชีวภาพ” เพื่อยกระดับผู้ประกอบการสู่อุตสาหกรรมชีวภาพ
สอน. X สพต. จัดสัมมนา “ทิศทางการพัฒนาและการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ชีวภาพ” เพื่อยกระดับผู้ประกอบการสู่อุตสาหกรรมชีวภาพ

สถาบันพลาสติกร่วมกิจกรรมประกวดแข่งขัน Business Model “สร้างธุรกิจจากขยะ”
กิจกรรมการประกวด Business Model “สร้างธุรกิจจากขยะ” เพื่อมองหานวัตกรรมที่น่าสนใจและมีส่วนช่วยในการพัฒนาให้กับขยะพลาสติ

สถาบันพลาสติกร่วมงานแถลงข่าว : การนำเสนอผลงานและบทบาท PPP Plastics ร่วมแก้ไขปัญหาขยะพลาสติกของประเทศไทย
พร้อมพิธีส่งมอบตำแหน่งประธานโครงฯการให้กับ คุณภราดร จุลชาต ประธานกิตติมศักดิ์กลุ่มอุตสาหกรรมพลาสติก สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ในการดำเนินงานและสถาบันพลาสติกเป็นเลขาธิการโครงการ PPP Plastics

โอกาสเป็นกิจการต้นแบบ Upgrade ธุรกิจ ด้วย BCG Model มาถึงแล้ว
ขอเชิญชวน SMEs ปรับโมเดลธุรกิจ เพื่อเป็นต้นแบบกิจการตามแนวทาง BCG Model

เปิดรับสมัครผู้ประกอบการ OTOP หรือผู้สนใจใช้บรรจุภัณฑ์อาหารสินค้าเกษตรแปรรูป
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมกับ สถาบันพลาสติก ได้ดำเนินโครงการยกระดับสินค้าเกษตรสู่เกษตรอุตสาหกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าและยกระดับสินค้า OTOP สู่ระดับโลก โดยการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้เป็นบรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ (Smart Packaging)โดยใช้เทคโนโลยีการตรวจสอบย้อนกลับอาหาร (Food Traceability) และการเลือกใช้วัสดุประเภทเดียวกันทั้งหมดทั้งบรรจุภัณฑ์(Mono Material Packaging) เพื่อให้เป็นบรรจุภัณฑ์ยั่งยืน และสอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy)

สถาบันพลาสติกให้ทดสอบมาตรฐานผลิตภัณฑ์และบริการรับรองวัตถุดิบ ผ่านโครงการส่งเสริมผู้ประกอบการผ่านระบบ BDS หรือ โครงการเอสเอ็มอีคนละครึ่ง
สถาบันพลาสติก ได้ร่วมเป็นผู้ให้บริการทางธุรกิจ (BDSP) ของ สสว.ภายใต้มาตรการนี้ โดยให้บริการทดสอบมาตรฐานผลิตภัณฑ์และบริการรับรองวัตถุดิบ ที่จะช่วยให้ผู้ประกอบการได้ทดสอบประสิทธิภาพของตัวบรรจุภัณฑ์ พร้อมห้องปฏิบัติการทดสอบที่สามารถรองรับการทดสอบสมบัติของพลาสติกได้หลากหลาย

Local to Global เพิ่มมูลค่าสินค้าสู่ระดับโลกด้วยบรรจุภัณฑ์
ขอเชิญชวนสถานประกอบเข้าร่วมในการพัฒนาและสร้างบรรจุภัณฑ์ประกอบอาหารประเภท บรรจุภัณฑ์พลาสติกคงรูป (Rigid Plastic Packaging) และ บรรจุภัณฑ์อ่อนตัว (Flexible Packaging)

สถาบันพลาสติกร่วมกิจกรรม Let’s Close the Loop นิทรรศการการจัดการพลาสติกตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน และการประกวดแผนธุรกิจการจัดการพลาสติก “From Pieces to Business”
นิทรรศการการจัดการพลาสติกตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน และการประกวดแผนธุรกิจการจัดการพลาสติก “From Pieces to Business”

สถาบันพลาสติกร่วมกับสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม จัดการประชุมระดมสมองแลกเปลี่ยนความคิดเห็นพัฒนาบรรจุภัณฑ์อาหารสินค้าเกษตรแปรรูป
ปัจจุบันระบบการค้ายุคใหม่ (Modern Trade) และ E-Commerce ถือเป็นเครื่องมือที่มีความสำคัญในการช่วยขับเคลื่อนและส่งเสริมตลาดให้กับสินค้าเกษตรแปรรูปของไทย
รวมทั้งหมด 78 รายการ